09:00 น. - 16:00 น.
8 มี.ค. 2561

** Registration 8.00 น.

 

" เคล็ดลับ!! การโน้มน้าวใจคนให้สำเร็จ
ด้วยเทคนิคเชิงจิตวิทยาและศิลปะการพูด "

          การดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน หลากหลายองค์การต่างเห็นความสำคัญถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ "บุคลากร" ทางด้านทัศนคติกระบวนการความคิดให้เกิดความสุขในการทำงาน องค์การจึงต้องนำศาสตร์และศิลป์ทางจิตวิทยามาประยุกต์ใช้ในการวางแผน บริหารจัดการ การจูงใจ การเจรจาต่อรอง ตลอดจนการสื่อสารตั้งแต่ระดับบนลงล่างเพื่อให้เกิดเป้าหมายสูงสุดในการทำงานร่วมกัน

          หลักสูตรนี้มุ่งเน้น 2 ทักษะ "จิตวิทยาในการจูงใจและวาทศิลป์ในการโน้มน้าวใจ" ซึ่งเหมาะสำหรับผู้บริหาร ผู้จัดการ หัวหน้า และผู้ที่สนใจผู้ที่เกี่ยวข้องในการนำเอาหลักการ แนวทางหรือเทคนิคต่างๆ มาใช้เพื่อให้องค์การ พัฒนาศักยภาพในการทำงานกับทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ปฏิบัติงานเกิดความเป็นหนึ่งเดียวกันหรือสร้างการทำงานอย่างเต็มใจ และมีเป้าหมายที่จะทำให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิผล ขณะที่ในอีกมุมหนึ่งนั้นศิลปะการโน้มน้าวใจ ก็ใช้ได้กับลูกค้า และคู่เจรจาทางธุรกิจเช่นกัน ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการนำเสนองานต่อลูกค้าและคู่ค้าขององค์การให้มากยิ่งขึ้น

Convincing

หลักสูตรฝึกอบรม : จิตวิทยาและวาทศิลป์ในการโน้มน้าวใจ

Key Contents

 ♟ วาทศิลป์ในการโน้มน้าวใจ


          ท่านจะได้เรียนรู้ถึงศาสตร์การสื่อสารผ่านการรับรู้ เข้าใจมุมมองต่างๆ สู่ภาคปฏิบัติในรูปแบบเชิงรุกและเชิงรับเพื่อการควบคุมและปรับตัวได้อย่างเหมาะสม เข้าใจสไตส์ผู้พูดและผู้ฟัง เทคนิคการใช้วาทศิลป์โดยคำนึงถึงอารมณ์ ถ้อยคำ และสถานการณ์ ตลอดจนการใช้วาทศิลป์สำหรับการนำเสนอ เจรจาต่อรอง และการจูงใจที่ส่งผลต่อการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพ
                    - หลักสำคัญของการพูดและฟังอย่างมีศิลปะ
                    - วาทศิลป์ในการนำเสนอและโน้มน้าวใจคน
                    - ศิลปะการจูงใจในการนำเสนอและเจรจาต่อรอง
                    - วาทศิลป์ในการจูงใจในสถานการณ์ที่ยากลำบาก
                    - สรุปข้อคิดในการใช้หลักจูงใจเพื่อสร้างความสำเร็จของงาน

 

 

 

 ♟ จิตวิทยาในการจูงใจ


          ท่านจะได้เรียนรู้ถึงกระบวนการสื่อสารเชิงจิตวิทยาเพื่อการจูงใจ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการโน้มน้าวใจ ความน่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร การใช้เหตุผลที่เหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ เทคนิคการใช้ NLP เข้ามาเป็นตัวช่วยในการโน้มน้าวและชักจูง เข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ในแต่ละประเภท รวมถึงจิตวิทยาสำหรับการนำเสนองานเพื่อมัดใจคนฟัง
                    - แนวคิดจิตวิทยาว่าด้วยเรื่องการจูงใจคน
                    - การทำความเข้าใจกับธรรมชาติที่แตกต่างของผู้ฟัง (Analysis Audiences types)
                    - การสร้างความน่าเชื่อถือ : เพื่อปรับเปลี่ยนความเชื่อของผู้ฟัง (ผู้รับสาร)
                    - เทคนิคในการพูดเพื่อการโน้มน้าวและชักจูง (NLP Techniques)                    
                              1.ผู้ปฏิบัติงานในองค์การ (การสื่อสารจาก Top-Down)                    
                              2.ผู้ใต้บังคับบัญชา                    
                              3.ลูกค้า
                    - พฤติกรรมมนุษย์
                              1.คนช่างคิด (Visual)
                              2.คนชอบความรู้สึก(Auditory)
                              3.คนชอบกระทำ (Kenaesthetic)
                    - จิตวิทยาการนำเสนองาน

 

Key Benefits

 

 

1. ได้รับความรู้และเครื่องมือเกี่ยวกับหลักจิตวิทยาในการทำงานกับคน
2. เข้าใจจิตวิทยาในการบริหารงาน เพื่อจูงใจทีมงานให้มุ่งสู่ความสำเร็จในงาน
3. เรียนรู้ศาสตร์และเทคนิคทางจิตวิทยาในการโน้มน้าวใจคน
4. เรียนรู้ศาสตร์และศิลป์ในการพูด การสื่อสารอย่างไร ที่จะเกิดการโน้มน้าวใจ
5. สามารถประยุกต์ใช้ทักษะการโน้มน้าวใจและจูงใจคนให้เกิดประโยชน์ต่องานได้อย่างเต็มที่

Training Fee

การชำระค่าธรรมเนียม

    รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% หักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

ค่าธรรมเนียมสมาชิก (หักส่วนลด 10% แล้ว)

5,310.00 5,681.70 159.30

ค่าธรรมเนียมปกติ

5,900.00 6,313.00 177.00

ชำระโดยสั่งจ่ายเช็ค / แคชเชียร์เช็ค ขีดคร่อม
สั่งจ่ายในนาม บริษัท ศูนย์พัฒนากลยุทธ์ทางธุรกิจ จำกัด
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 0105539066692
เลขที่ 1755 ซอยลาดพร้าว 94 ถนนลาดพร้าว แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310

โอนเงินเข้าบัญชี
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด ( มหาชน ) สาขาศรีวราทาวน์อินทาวน์ บัญชีออมทรัพย์
เลขที่ 609-2-01313-6
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด ( มหาชน ) สาขาสี่แยกศรีวรา บัญชีออมทรัพย์
เลขที่ 140-2-12879-3

** หมายเหตุ หากต้องการยกเลิกหลักสูตรต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน มิฉะนั้นท่านต้องชำระค่าใช้จ่ายร้อยละ 30

สถานที่จัดงาน @ โรงแรม สวิสโฮเต็ล กรุงเทพฯ รัชดา